ประกอบก้วย พล.ต.จำลอง ศรีเมือง นายสมศักดิ์ โกสัยสุข นายพิภพ ธงไชย นายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ นายสุริยะใส กตะศิลา ผู้ประสานงานกลุ่ม พร้อมด้วยกลุ่มผู้สนับสนุนกว่า 500 คน ได้เคลื่อนขบวนผู้ชุมนุมไปยังสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ ปปช.เพื่อยื่นหนังสือถอดถอนและดำเนินคดีอาญากับคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ ข้าราชการกระทรวงการต่างประทเศ นายทหาร และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี รวมทั้งสิ้น 41 รายชื่อ กรณีทำให้ประเทศไทยสูญเสียอธิปไตยและเขตแดนบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหาร
โดยเฉพาะแผนการเช่าเกาะกง และมีผลประโยชน์ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกี่ยวกับสัมปทานแหล่งก๊าซธรรมชาติและน้ำมันในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยระหว่างประเทศไทย - ประเทศกัมพูชา ต่อมาได้มีการเดินทางไปพบกับ สมเด็จฮุนเซ็น นายกรัฐมนตรีกัมพูชา อย่างต่อเนื่อง ก่อนรัฐบาลจะถูกรัฐประหาร 19 ก.ย.2549 กระทั่งมีการเลือกตั้งเมื่อ ธ.ค.2550 รัฐบาลที่นำโดยพรรคพลังประชาชนได้มีความพยายามสานต่อนโยบายของ พ.ต.ท.ทักษิณ จนเป็นที่มาของการลงนามร่วมในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา ในการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก
๒. นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและรมว.กระทรวงกลาโหม
๓. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงศึกษาธิการ
๔. นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงพาณิชย์
๕. นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กระทรวงการคลัง
๖. นายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรี
๗. พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรี
๘. นายชูศักดิ์ ศิรินิล รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
๙. นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ รมช.กระทรวงการคลัง
๑๐. ร.ต.(หญิง) ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รมช.กระทรวงการคลัง
๑๑. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑๒. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร รมช.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑๓. นายธีระชัย แสนแก้ว รมช.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๑๔. นายสันติ พร้อมพัฒน์ รมว.กระทรวงคมนาคม
๑๕. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ รมช.กระทรวงคมนาคม
๑๖. นายทรงศักดิ์ ทองศรี รมช.กระทรวงคมนาคม
๑๗. ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รมว.กระทรวงมหาดไทย
๑๘. นายสุพล ฟองงาม รมช.กระทรวงมหาดไทย
๑๙. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ รมช.กระทรวงมหาดไทย
๒๐. นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ รมว.กระทรวงยุติธรรม
๒๑. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา รมช.กระทรวงศึกษาธิการ
๒๒. นายพงศกร อรรณนพพร รมช.กระทรวงศึกษาธิการ
๒๓. นายไชยา สะสมทรัพย์ รมว.กระทรวงสาธารณสุข
๒๔. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ รมช.กระทรวงสาธารณสุข
๒๕. นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ รมช.กระทรวงพาณิชย์
๒๖. พ.ต.ท.บรรยิน ตั้งภากรณ์ รมช.กระทรวงพาณิชย์
๒๗. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒๘. นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน รมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒๙. นายมั่น พัธโนทัย รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๓๐. พล.ท.(หญิง) พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ รมว.กระทรวงพลังงาน
๓๑. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รมว.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
๓๒. นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล รมว.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
๓๓. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ รมว.กระทรวงวัฒนธรรม
๓๔ นางอุไรวรรณ เทียนทอง รมว.กระทรวงแรงงาน
๓๕. นายกฤต ไกรจิตติ อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ
๓๖. นายเชิดชู รักตะบุตร อัครราชทูตประจำกรุงปารีส ปฎิบัติราชการที่กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ
๓๗. นายพิษณุ สุวรรณรชฎ รองอธิบดีกรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ
๓๘. นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
๓๙. พล.ท.แดน มีชูอรรถ เจ้ากรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด
๔๐. พล.ท.สุรพล เผื่อนอัยกา เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
๔๑. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี